tripitaka-mbu / 20 /200047.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
20,0047,001,๒. เป็นผู้มีหิริ คือละอายกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอาย
20,0047,002,ต่อการถึงพร้อมแห่งอกุศลธรรมอันลามก.
20,0047,003,๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ คือสะดุ้งกลัวต่อกายทุจริต วจีทุจริต มโน-
20,0047,004,ทุจริต สะดุ้งกลัวต่อการถึงพร้อมแห่งอกุศลธรรมอันลามก.
20,0047,005,๔. เป็นพหูสูต ทรงธรรมที่ได้สดับแล้ว สั่งสมธรรมที่ได้สดับแล้ว
20,0047,006,ธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ประกาศพรหม-
20,0047,007,จรรย์พร้อมทั้งอรรถพร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง ธรรม
20,0047,008,ทั้งหลายเห็นปานนั้น อันท่านได้สดับมามาก ทรงจำไว้ได้ สั่งสมด้วยวาจา
20,0047,009,ตามเพ่งด้วยใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น.
20,0047,010,๕. เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อถึงพร้อมแห่ง
20,0047,011,อกุศลธรรม มีความเข้มแข็ง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในอกุศลธรรม
20,0047,012,ทั้งหลาย.
20,0047,013,๖. เป็นผู้มีสติ คือประกอบด้วยสติและปัญญาเครื่องรักษาตนอย่างยิ่ง
20,0047,014,ระลึกได้ ตามระลึกได้ แม้ซึ่งกิจการที่ทำไว้แล้วนาน แม้ซึ่งถ้อยคำที่พูดไว้แล้ว
20,0047,015,นาน.
20,0047,016,๗. เป็นผู้มีปัญญา คือประกอบด้วยปัญญา อันเห็นความเกิดและ
20,0047,017,ความดับ อันเป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ดูก่อนมหา
20,0047,018,นาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ ประการ.
20,0047,019,[๓๒] ดูก่อนมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้ได้ฌาน
20,0047,020,ทั้ง ๔ อันเป็นธรรมอาศัยซึ่งจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม ตาม
20,0047,021,ความปรารถนา เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้
20,0047,022,สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติ